ระบบทุกระบบของร่างกายมีการทำงานประสานกันอย่างเนื่องตลอดเวลา เพื่่อให้อวัยวะทุกส่วนในร่างกาย ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามวัยและตามธรรมชาติของการเจริญเติบโต ระบบระสาทและระบบต่อมไร้ท่อก็เป็นระบบที่มีส่วนสำคัญในการดำรงชีวิต ที่เกี่ยวข้องกับการสั่งการ การตอบสนองที่เหมาะสมเพื่อรักษาสดุลของร่างกาย
ระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
สมองและระบบประสาทมีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการวัยรุ่น
1. ควบคุมประสาทการทำงานส่วนต่างๆของร่างกาย เช่นการเคลื่อนไหว การมองเห็น การได้ยิน
2. รับความรู้สึกจากอวัยวะทุกส่วน รวมทั้งความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ความทรงจำ
2. รับความรู้สึกจากอวัยวะทุกส่วน รวมทั้งความรู้สึกนึกคิด อารมณ์ ความทรงจำ
การทรงตัว การสัมผัส ฯลฯ
2. 3. รับกระแสประสาทจากส่วนต่างๆของร่างกายส่งไปยังสมองและจากสมองส่งไปยังอวัยวะ
3.
หน้าที่และความสำคัญของระบบต่อมไร้ท่อ Endocrine system.
http://www.saintnic.ac.th/quest13/healthM154.html |
ต่อมควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการวัยรุ่น
ความสำคัญของระบบต่อมไร้ท่อต่อสุขภาพการเจริญเติบโตและพัฒนาการของวัยรุ่น
ฮอร์โมน
|
ความสำคัญของต่อมไร้ท่อ
| |
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหน้า
|
โกรว์ทฮอร์โมน
|
ควบคุมการเจริญเติบโตร่างกายให้สมดุล,ผลิตฮอร์โมนเพศชายและหญิง
|
โพรแลคทิน
|
ควบคุมการผลิตน้ำนมในเพศหญิงภายหลังการคลอด
| |
ต่อมใต้สมอง
ส่วนหลัง
|
ออกซิโทซิน
|
กระตุ้นมดลูกบีบตัวขณะคลอด กระตุ้นการหลั่งน้ำนมขณะเด็กดูดนม
|
วาโซเพรสซิน
|
ควบคุมการขับปัสสาวะและการใช้น้ำในร่างกาย การบีบตัวของกล้ามเนื้อหลอดเดือดแดง
| |
ต่อมไทรอยด์
|
ไทรอกซิน
|
ควบคุมการใช้พลังงานและการเผาผลาญอาหารในร่างกาย
|
ควบคุมการเจริญเติบโต สติปัญญา และอวัยวะเพศ
| ||
ต่อมไพเนียล
|
เมลาโทนิน
|
ควบคุมอวัยวะสืบพันธ์ไม่ให้เจริญเติบโตและมีความรู้สึกทางเพศเร็วก่อนถึงวัยรุ่น
|
ควบคุมการนอนหลับของวัยรุ่นสัมพันธ์กับแสงสว่าง(มืดแล้วรู้สึกง่วง)
| ||
ต่อมหมวกไตชั้นใน/
ชั้นนอก
|
อะดรีนาลิน
|
ควบคุมการทำงานของร่างกายในภาวะฉุกเฉิน หรือ เครียด
|
แอนโดรเจน
|
สร้างฮอร์โมนควบคุมความรู้สึกทางเพศเด็กชายเป็นปกติเพศหญิง/เพศชายมากขึ้น
| |
ต่อมเพศชาย
(อัณฑะ)
|
เทสโทสเตอโรน
|
สร้างฮอร์โมนเพศกระต้นและควบคุมลักษณะความเป็นชาย
|
ผลิตอสุจิ หรือ สเปิร์ม เพื่อการสืบพันธ์
| ||
ต่อมเพศหญิง
(รังไข่)
|
เอสตราดิโอลฟลอลิคิวลาร์
|
สร้างฮอร์โมนเพศกระตุ้นและควบคุมลักษณะ
เฉพาะเพศหญิงและผลิตไข่สุก เดือนละ 1 ฟอง
|
เอสโตรเจน/
โปรเจสเตอโรน
|
กระตุ้นผนังมดลูก เตรียมรอรับไข่
|
การดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อ
รายละเอียดในการปฏิบัติ
|
หมายเหตุ
| |
1.การผักผ่อน
|
ควรนอนหลับวันละ 8 – 10ชั่วโมง
|
การดูแลรักษาระบบประสาทปฏิบัติตามองค์ประกอบ
ข้อที่1-7การดูแลรักษาระบบต่อมไร้ท่อปฏิบัติตามองค์ประกอบ
ข้อที่4-8
|
2.สารเสพติด
|
หลีกเลี่ยงแอลกอฮอล์ บุหรี่ และสารเสพติด
| |
3.อุบัติเหตุ
|
ระวังการกระทบกระเทือนต่อสมองและอันตรายจากสารเคมี
| |
4.อาหาร
|
กินอาหารครบ5หมู่โดยเฉพาะผักผลไม้ แคลเซียม ธาตุเหล็ก ไอโดดีน
ควรกินอาหารไม่เกิน 2 ,000 กิโลแคลอรี/ต่อวัน
| |
5.ออกกำลังกาย
|
ทุกวัน หรือ3-5 วันต่อสัปดาห์ วันละ 30 นาที
| |
6.อารมณ์
|
มองโลกในแง่ดี ทำจิตใจให้สงบ ผ่อนคลาย ไม่วิตกกังวลหรือเครียด
| |
7.ปรึกษาแพทย์
|
เมื่อร่างกายผิดปกติ เช่นอ้วน,ผอม,เตี้ย,นอนไม่หลับ,ปวดศีรษะ,เครียด
| |
8.ดื่มน้ำ
|
วันละ 6-8 แก้ว หรือ 2 ลิตรและเพิ่มอีก 1 ลิตรวันที่อากาศร้อนจัด
|
วิเคราะห์ภาวการณ์เจริญเติบโตทางร่างกายการสำรวจตัวเองกับเกณฑ์มาตรฐาน
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต
ข้อมูล: กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2542
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต
เมื่อคนเราเจริญเติบโต จะมีการพัฒนาทั้งร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ เติบโตตามมาด้วย คนเราต้องรู้จัก รักษาสมดุลของร่างกายเพื่อให้มีสุขภาพที่ดี ผลของการเจริญเติบโตที่เห็นได้ชัดเจน คือ การเจริญเติบ โตทางด้านร่างกายทั้งน้ำหนักและส่วนสูง เราควรรู้จักรักษาสุขภาพของตนเอง โดยเปรียบเทียบน้ำหนัก เกณฑ์มาตรฐานได้ถูกต้อง
กราฟแสดงเกณฑ์อ้างอิงการเจริญเติบโต
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของมนุษย์
- เพศ ปกติเพศหญิงจะเจริญเติบโตเร็วกว่าเพศชาย
- ต่อมต่าง ๆ ภายในร่างกายที่ผลิตสารต่างๆ อาจทำงานมากหรือน้อยต่างกันไป
- อาหาร การได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วนทำให้เกิดการเจริญเติบโตช้า
- อาการและแสงแดด ถ้ามีอาการดีและได้รับแสงแดดบ้างจะทำให้เราแข็งแรง เจริญเติบโตตาม ปกติ
- การบาดเจ็บและโรคภัยที่่เป็นมาแต่เดิมถ้าป่วยมาแต่เด็กก็จะทำการเจริญเติบโตช้า
- การเรียนรู้ที่จะฝึกหัดหรือฝึกฝน โดยเฉพาะการเล่นกีฬาและการทำกิจกรรมต่าง ๆ จะทำให้พัฒนาการของกล้ามเนื้อดี และทำให้ร่างกายเจริญเติบโตเร็วขึ้น ปัจจัยเหล่านี้้จะได้กล่าวในราย ละเอียดต่อไป
การส่งเสริมการเจิรญเติบโตและพัฒนาการ
แนวคิด
1.ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในวัยต่างๆ
จากการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กแต่ละวัยทำให้เด็กแต่ละช่วงวัยมีปัญหาสุขภาพ
ที่แตกต่างกัน ซึ่งปัญหาสุขภาพเหล่านี้จะขัดขวางการเจริญเติบโตและพัฒนาการดังนั้นพยาบาลจึงควรเข้าใจและให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองเพื่อช่วยป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพเหล่านี้ที่อาจเกิดขึ้น
2. การประเมินการเจิรญเติบโต
มีหลายวิธีที่เราสามารถใช้ในการประเมินการเจิญเติบโตเพื่อใช้เป๋นเครื่องมือในการเฝ้าติดตาม
และเฝ้าระวังในเด็กสิ่งที่สำคัญพยาบาลต้องเลือกวิธีที่ใช้ประเมินเด็กให้เหมาะสมกับแต่ละวัย
3การประเมินพัฒนาการ
ทิศทางของพัฒนาการเป็นไปมนรูปแบบเดียวกับการเจริญเติบโตคือ มีพัฒนาการจากศีรษะลงสู่เท้าและเริ่มจากส่วนกลางลำตัวไปยังส่วนปลายซึ่งการดูแลที่สำคัญคือการกระตุ้นให้ผู้ดูแลตระหนักถึงความสำคัญและมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กแต่ละวัย
4. กิจกรรมและการเล่นของเด็ก
การเล่นเป็นกิจกรรมี่สำคัญอย่างหนึ่งในช่วงชีวิตวัยเด็กการเล่นมีประโยชน์หลายๆประการสำหรับเด็ก
ได้แก่ ช่วยพัฒนาสติปัญญา ฝึกความมีระเบียบวินัยแก่เด็ก ช่วยให้เด็กเป็นผู้มีสุขภาพจิตที่ดีฝึกให้เด็กมีความกล้าและความเชื่อมั่นในตนเองช่วยให้เด็กมีทัศนคติที่ดีต่อการเรียนซึ่งแนวทางในการดูแลคือการให้คำแนะนำในการเลือกของเล่นให้เหมาะสมกับวัยเพื่อป้องกันอุบัติเหตุและช่วยส่งเสริมการเรียนรู้
5. การตรวจสุขภาพเด็ก
เป็นสิ่งจำเป็นขั้นพื้นฐานสำหรับการเลี้ยงดูเด็ก สิ่งที่เราต้องคำนึงถึงคือระยะเวลาที่ควรพาเด็กไปตรวจ
สุขภาพ สถานยริการ และตลอดจนพฤติกรรมการเลี้ยงดูในการส่งเสริมสุขภาพเด็ก
คำนวนแคลอรี่ในอาสาร
1. คาร์โบไฮเดรต 1 กรัม ให้พลังงาน 4 กิโลกรัม
2. โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงานกิโลกรัม
3. ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน กิโลแคลอรี่
อ้างอิง:หนังสือเรียนสุขศึกษา สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
แหล่งข้อมูงเพิ่มเติม
3. http://www.foodsafety-lcfa.com/files/health_corner/nutrition.pdf
4. http://educator.co.th/human2.html
4. http://educator.co.th/human2.html
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น